【泰国博仁大学研究院】为什么中国能够成功应对新冠疫情并成为其他国家的榜样?
近日,泰国博仁大学研究院 DPU Research 发表了一篇名为《ถอดบทเรียนจีนกับการกู้วิกฤต Covid-19 ไขข้อสงสัยทำไมหลายประเทศต่างยกให้เป็น Role Model(为什么中国能够成功应对新冠疫情并成为其他国家的榜样)》的文章,作者是泰国博仁大学Phumphat Phongpruetthikul博士。文中整理了新冠疫情的发展脉络,罗列了主要国家的抗疫数据,并深刻刨析了中国取得抗疫胜利的原因。中国是世界上第一个发现感染者的国家,也是第一个成功控制新感染的国家。
疫情爆发初期,中国面临二选一的抉择:经济发展还是人民的生命。中国领导层认为,人民的生命是无价的,值得付出任何短期的经济代价。因此,在习近平主席的亲自指挥、亲自部署下,中国果断发动了史无前例的抗击疫情战役,全党全国人民都投身于这场伟大斗争之中。
中国已经取得了应对新冠肺炎疫情的初步胜利。但是中国政府和人民绝不会忘记,在中国抗击疫情的关键时期,有79个国家、10个国际组织为中国提供了宝贵援助。知恩图报是中国的优良传统。中国已经以医疗物资、抗疫经验、资金等形式,向120个国家、4个国际组织提供了紧急援助。中国地方政府、企业和民间机构也在积极主动地支援世界各地的抗疫行动。
疫情不分国界、种族和宗教,使整个人类成为命运共同体。相信只要各国团结起来共同应对疫情,这场全球大流行病一定能被快速消灭,世界将走向更美好的明天!
泰国博仁大学作为中国留学生最多的泰国高校,从1月到5月,泰国博仁大学连发近20篇疫情防范指导专题,时刻关注中国留学生的身心健康,从一开始泰国其他机构大学还在观望我们就做出积极抗疫措施;到疫情控制住,学校立即出台“新常态”的复学指导意见,投入巨资采购各种抗疫医疗消毒物资,上下一心,自始至终0病例,用自己的实力证明了,我们对待学生安全问题毫不含糊!到目前为止我还没有看到第二个泰国大学如此效率。
以下是文章原文。
สถานการณ์การแพร่ระบาดของ “โคโรนาไวรัส” หรือ Covid19 เมื่อต้นปีที่ผ่านมาได้แพร่กระจายไปทั่วโลกอย่างรวดเร็วหลังจากที่พบผู้ติดเชื้อรายแรกในวันที่ 22 มกราคม 2563 ณ เมืองอู่ฮั่น เมืองเอกของมณฑลหูเป่ย์ สาธารณรัฐประชาชนจีน ในเวลาต่อมาองกรค์อนามัยโลก หรือ WHO ได้ประกาศให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลกให้รับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสครั้งใหญ่ หรือ Pandemic เนื่องจากพบว่าเชื้อไวรัส ดังกล่าวสามารถติดต่อจากคนสู่คนได้โดยผ่านการสัมผัสละอองฝอย (Droplets) หรือการสัมผัสสารคัดหลั่งที่มีเชื้อไว้รัส และสัมผัสบริเวณที่รับเชื้อเข้าสู่ร่างกาย เช่น ปาก และจมูก เป็นต้น ส่งผลให้ตัวเลขผู้ติดเชื้อภายในประเทศจีนพุ่งสูงถึง 81,340 คน ในระยะเวลาไม่ถึง 2 เดือน
ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง และรัฐบาลจีนได้ออกมาตรการเร่งด่วนเพื่อควบคุมการแพร่กระจายเชื้อโรคและลดจำนวนผู้ติดเชื้อ เช่น การรักษาระยะห่าง การตรวจอุณภูมิ การงดจัดกิจกรรม การห้ามเดินทางภายในประเทศและต่างประเทศ รวมไปถึงมาตรการเด็ดขาด คือ“การปิดเมือง”
จีนเป็นประเทศเดียวในโลกที่สามารถรักษาผู้ป่วยได้สูงถึง 74,588 คน คิดเป็นอัตราส่วน ร้อยละ 91.70 สูงกว่าค่าเฉลี่ยของโลกที่มีอัตราร้อยละ 6.78 ขณะเดียวกันกลับพบว่าประเทศพัฒนาแล้ว มีอัตราการรักษาหายต่ำมาก เช่น สหรัฐอเมริกาสามารถรักษาหายเพียงร้อยละ 2.18 อิตาลี ร้อยละ 12.86 สเปนร้อยละ 12.14 เยอรมัน ร้อยละ 12.91 เป็นต้น (ข้อมูล ณ วันที่ 27 มีนาคม 2563) ส่วนอัตราการเสียชีวิต มีผู้เสียชีวิตรวมทั้งโลก 30,451 คน ข้อมูล ณ วันที่ 30 มีนาคม 2563 (Max Roser, Hannah Ritchie and Esteban Ortiz-Ospina, 2020) โดยประเทศที่มีจำนวนผู้เสียชีวิตสูงสุดได้แก่ อิตาลี สเปน ฝรั่งเศส และอิหร่าน ตามลำดับ โดยอัตราการเสียชีวิตของประเทศดังกล่าวเติบโตอย่างก้าวกระโดดในช่วงวันที่ 20-30 มีนาคม 2563 ในขณะที่ประเทศในซึกโลกตะวันออกอย่างจีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น มีอัตราการเสียชีวิตลดลง
จะเห็นได้ว่า จีนเป็นประเทศแรกของโลกที่ค้นพบผู้ติดเชื้อรายแรก อีกทั้งยังเป็นประเทศแรกที่สามารถควบคุมการติดเชื้อรายใหม่ได้สำเร็จ หลากหลายประเทศจึงให้ความสนใจกับแนวทางการควบคุมสถานการณ์ รวมถึงมาตรการต่างๆ ในประเทศจีนที่ประกาศใช้ตลอดระยะเวลา 2 เดือนที่ผ่านมา
สายงานวิจัย และพัฒนา Research & Development and Innovation (RDI) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ได้ถอดบทเรียน ความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนและรัฐบาลในการบริหารจัดการ แก้ไขปัญหาประเทศภายใต้วิกฤตการณ์รดับรุนแรง การแพร่ระบาทของไวรัส Covid -19 ที่ส่งผลกระทบรุนแรงต่อสุขภาพ สังคม และเศรษฐกิจของโลก ซึ่งนอกจากมาตรการเข้มงวดของรัฐบาล บทบาทสำคัญของภาคเอกชนที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว มีดังนี้
1. การบริการทางการแพทย์ หรือ Medical Services ผู้ให้บริการด้านอินเทอร์เน็ตรายใหญ่ของจีน เช่น Baidu และ Alibaba ได้ให้บริการคำปรึกษาทางการแพทย์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต แก่ประชาชนชาวจีนที่อาศัยอยู่ทั้งในประเทศ และต่างประเทศ
2. การบริการด้านข้อมูลข่าวสาร หรือ Information สำนักพิมพ์เอกชนเปิดให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร คำแนะนำแก่ประชาชนในการกักตัวอยู่บ้าน โดยไม่คิดค่าบริการ รวมถึงจัดทำวิดีโอประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้ โดยผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ
3. การประยุกต์ใช้ปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligent (AI) ได้มีบทบาทในการวิเคราะห์ภาพเอกซเรย์ด้วยความถูกต้อง รวดเร็ว และแม่นยำสูง ซึ่งต่างจากการวินิจฉัยโดยแพทย์ที่ต้องใช้เวลานาน
4. การบริการขนส่งโลจิสติกส์ หรือ Logistics and Transportation ของภาคเอกชนที่ช่วยอำนวยความสะดวกแก่บุคลากรทางการแพทย์และประชาชนโดยจัดให้มีพนักงานขับรถรับ-ส่งแก่บุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินทางไปยังเมืองต่างๆ
ปฎิเสธไม่ได้ว่าการทำงานของรัฐบาลเพียงฝ่ายเดียวอาจจะไม่สามารถบริหารจัดการกับวิกฤตการได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นการร่วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชนยังคงมีบทบาทสำคัญที่จะนำพาสาธารณรัฐประชาชนจีนก้าวข้ามช่วงเวลาอันยากลำบากนี้ไปได้ และผลลัพท์ที่เกิดขึ้นจากความร่วมมือนั้น ได้รับความสนใจจากนานาประเทศในเรื่องของการควบคุมสถานการณ์ในประเทศจีน รวมถึงมาตรการต่างๆ นำมาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับบริบทของแต่ละประเทศเพื่อที่จะแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าการร่วมมือของประเทศจีนสามารถเป็นแบบอย่าง (Role Model) ในการแก้ไขปัญหาในยามวิกฤตภัยเพื่อให้มนุษยชาติหันมาช่วยเหลือเกื้อกูลกันอย่างไม่มีเงื่อนไข ไม่แบ่งเชื้อชาติ สีผิว ไม่แบ่งชนชั้น วรรณะ
โดย ดร.ภูมิพัฒณ์ พงศ์พฤฒิกุล
ผู้เชี่ยวชาญพิเศษสายงานวิจัย และพัฒนา Research & Development and Innovation
มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์
【泰国博仁大学研究院】为什么中国能够成功应对新冠疫情并成为其他国家的榜样?
文章为作者独立翻译整理,转载请标注原文链接